องค์กรตัวอย่าง : “มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ” มหาวิทยาลัยในสวนป่า ได้รับรางวัลจากการประปานครหลวง ลดการใช้น้ำได้ถึง หลักลิตร ต่อเดือน !!

1.โครงการสร้างขุมกำลังบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงาน เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานในอาคาร  Building Energy Awards of Thailand 2010 (BEAT 2010)

อาคารที่ได้รับเลือกเข้าร่วมในการแข่งขัน กลุ่มอาคารประเภทมหาวิทยาลัย 4 แห่ง 
*จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 
*มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
*มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
*มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

วัตถุประสงค์โครงการ  BEAT 2010

1.  เพื่อสร้างความตื่นตัวด้านอนุรักษ์พลังงานให้กับผู้ใช้อาคาร 
2.  เพื่อเป็นแนวทางในการรณรงค์เผยแพร่เทคนิควิธีการอนุรักษ์พลังงาน 
3.  สนับสนุนให้เกิดการสร้างขุมพลังบุคลากรทางด้านพลังงานให้กับประเทศชาติโดยแท้จริง

สรุปผลการดำเนินงานตามมาตรการอนุรักษ์พลังงาน

มาตรการที่ดำเนินการปรับปรุง  ผลประหยัด*(บาท/ปี)  เงินลงทุน (บาท)   คืนทุน (ปี) 
ABAC สนพ. รวม ABAC รวม
1 ติดตั้งอุปกรณ์ปรับความเร็วรอบ (VSD) ที่ Secondary Pump 526,974.26

977,070

393,600  1,370,670  1.85  2.60 
2 ติดตั้งระบบ Chiller Plant Management 254,938.50 1,155,995 640,000  1,795,995  4.53  7.04 
3 ปรับปรุงการเปิด-ปิดประตูโซน Plaza 290,526.72 215,390 144,000  359,390  0.74  1.24 
4 ระบบควบคุมอัตโนมัติ ไฟฟ้าแสงสว่างและปรับอากาศ ในห้องเรียน, สำนักงาน และห้องพักอาจารย์ 663,926.10 831,615 665,200  1,496,815  1.25  2.25 
5 การปรับปรุงประสิทธิภาพการระบายความร้อนของหอผึ่งน้ำเย็น 169,169.84 756,000 504,000  1,260,000  4.40  7.445 
รวมทั้งสิ้น 1,905,535.42 3,936,070  2,346,800  6,282,870  1.81  3.29 


โครงการสร้างขุมกำลังบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานในอาคาร
Building Energy Awards of Thailand 2010 (BEAT 2010)


2.โครงการพัฒนาต่อยอดการดำเนินการจัดการพลังงานตามกฏหมายประเทศไทยไปสู่ระบบ การจัดการพลังงานในระดับสากล ISO 50001

 

3.โครงการสถานประกอบการต้นแบบในการฝึกอบรมพัฒนาบุคลากร ภาคปฏิบัติเพื่อการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานของเครื่องจักรและอุปกรณ์ในระบบปรับอากาศ


4.โครงการส่งเสริมการปรับปรุงประสิทธิภาพ การใช้พลังงานในอาคาร ระดับ 1

วัตถุประสงค์โครงการ  

*เพื่อยกย่องเชิดชูอาคารที่ดำเนินการอนุรักษ์พลังงานมาอย่างต่อเนื่อง
*เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นให้เจ้าของอาคารเกิดแรงจูงใจในการอนุรักษ์พลังงาน
*เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ตระหนักถึงคุณค่าของการอนุรักษ์พลังงานโครงการส่งเสริมการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานในอาคาร
*เพื่อเผยแพร่ความรู้และให้คำแนะนำด้านการอนุรักษ์พลังงานและใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ

อาคารที่ได้รับเลือกเข้าร่วมในการแข่งขัน

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาเขตสุวรรณภูมิ
มหาวิทยาลัยรัตนบัญฑิต
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
มหาวิทยาลัยสยาม
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

MEA Energy Saving Building รางวัลระดับที่ 1 ของอาคารปี 3 ประเภทมหาวิทยาลัย

 

 

 

5.โครงการส่งเสริมการปรับปรุงประสิทธิภาพ การใช้พลังงานในอาคาร ระดับ 2 MEA Energy Saving Building

 

สรุปผลการดำเนินงาน มาตรการด้านการปรับปรุง

ลำดับที่  มาตรการ  เครื่องจักร/อุปกรณ์ที่ปรับปรุง  แนวทางการปรับปรุง  เงินลงทุน (บาท)  พลังงานและ ผลประหยัด ระยะเวลาคืนทุน (ปี) 
(kWh/ปี) (บาท/ปี)
1 LED ประหยัดกว่า สว่างจริง ( อาคาร CL ห้องสมุด) Fluorescent 36W เปลี่ยนจากหลอด T8 36w. เป็นหลอด LED 20 w. จำนวน 1,000 หลอด 733,000 105,393 453,658 1.62
2 Motion ใช้จริงเปิดจริง (อาคาร MSE ) FCU 61 เครื่อง หลอด T8 36w.
880 หลอด
ติดตั้งตั้ง Motion ตรวจจับความเคลื่อนไหว สั่งเปิด-ปิด AIR/แสงสว่าง ในห้องเรียน            จำนวน 36 ห้อง 432,000 70,256 302,101 1.43
รวม    1,165,500 175,649 755,759 1.54


มาตรการที่ 1 : 
เปลี่ยนหลอด LED จำนวน 1,000 หลอด

 

                                                           อาคาร CL ห้องสมุด ชั้น 2,3,5

มาตรการที่ 2 : ติดตั้ง Motion อุปกรณ์ตรวจจับความเคลื่อนไหว เปิด-ปิด ระบบปรับอากาศ และแสงสว่าง 
จำนวน 36 ห้อง

                                         อาคาร MSE ห้องเรียน 30 ห้อง / ห้องน้ำ 6 ห้อง

สรุปมาตรการประหยัดพลังงาน หน่วยงานต่างๆในอาคาร CL/MSE ที่ดำเนินการมีทั้งหมด 15 มาตรการ ดำเนินการทั้งหมด

คณะทำงานการประหยัดพลังงานได้กำหนดนโยบาย ดังนี้
1. ลด ละ เลิก การใช้พลังงานแบบสิ้นเปลือง
2. ขอความร่วมมือจากบุคลากรในหน่วยงานให้เกิดจิตสำนึก ร่วมกันประหยัดพลังงานและการใช้อุปกรณ์สำนักงาน
อย่างถูกต้องเหมาะสม

3. รณรงค์ตามมาตรการประหยัดพลังงานของมหาวิทยาลัยฯ

มาตรการประหยัดพลังงาน
1. ระบบปรับอากาศ
1.1 กำหนดเวลาเปิด-ปิด เครื่องปรับอากาศก่อนทำงาน 15 นาที และปิดก่อนเลิกงาน 30 นาที
1.2 ตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศไว้ที่ 25-27 องศาเซลเซียส
1.3 ทำความสะอาดเครื่องปรับอากาศทุก 1 เดือน
1.4 ผนังที่ถูกแสงแดดตลอดวันให้มีผ้าม่านบังแสง
1.5 ปิดประตูห้องให้สนิททุกครั้งที่เปิดเครื่องปรับอากาศ
1.6 เปิดเครื่องปรับอากาศให้เหลือครึ่งหนึ่งของจำนวนแอร์ที่เปิด และเปิดสลับกันไปในแต่ละวัน
1.7 หากทำงานคนเดียวในห้อง ไม่ควรเปิดแอร์

2. ระบบแสงสว่าง
2.1 ปิดไฟในสำนักงาน/บริเวณที่ไม่ได้ใช้งานเมื่อเลิกใช้งานหรือช่วงพักกลางวัน
2.2 เปิดใช้เฉพาะที่จำเป็น ใช้แสงสว่างธรรมชาติให้มากที่สุด และจัดตำแหน่งเฟอร์นิเจอร์ไม่ให้บังช่องแสง

3. อุปกรณ์ไฟฟ้า
3.1 เครื่องคอมพิวเตอร์
- ตั้งเวลาคอมพิวเตอร์ให้พักหน้าจอเมื่อไม่ใช้งานภายใน 15 นาที - ปิดเครื่อง/ถอดปลั๊กเมื่อเลิกใช้งาน
3.2 เครื่องพิมพ์คอมพิวเตอร์
- ต่อ Printer 1 เครื่อง ให้ใช้งานกับคอมพิวเตอร์อย่างน้อย 3 เครื่อง
- ปิด/ถอดปลั๊กเมื่อเลิกใช้งานในแต่ละวัน
3.3 อุปกรณ์ไฟฟ้าอื่นๆ
- เมื่อเลิกใช้งานในแต่ละวันให้ถอดปลั๊กออกทันที

4. การใช้กระดาษกระดาษ
ใช้กระดาษสองหน้า กระดาษที่ไม่ใช้ห้าม ขยำ ทำเปื้อน/เปียก ฉีกขาด เผา จัดหา กล่องใส่กระดาษหน้าเดียวเพื่อนำไปใช้ต่อ ใช้กระดาษอย่างประหยัด

5. มาตรการเพิ่มเติม
1. มีการประชาสัมพันธ์ การติดป้ายประกาศ การประหยัดพลังงาน ไฟฟ้าตามจุดต่างๆ ที่ เหมาะสมเพิ่มขึ้น
2. มีสวิตซ์ เปิด-ปิด ไฟเฉพาะจุด ภายในสำนักงาม

MEA Energy Saving Building 2015 รางวัลระดับ 2 ของอาคารปี 3 ประเภทมหาวิทยาลัย

กฟน. อาคารประหยัดพลังงาน ระดับดีเด่น

ค่าสาธารณูปโภค ปีพ.ศ. 2561 วิทยาเขตสุวรรณภูมิ

ค่าไฟฟ้า 76,691,649.93 บาท

ค่าน้ำประปา 4,878,819.32 บาท

ค่าโทรศัพท์ 464,903.16 บาท

 

HUAMAK CAMPUS

592/3 Soi Ramkhamhaeng 24 Ramkhamhaeng Rd.,
Hua Mak, Bangkok
Thailand
10240

CONNECT WITH US

We're on Social Networks. Follow us & get in touch.